* * * ให้กำลังใจกับเว็บเพาะกายของเรา ด้วยการช่วยคลิกไปที่ภาพนิ้วโป้งข้างล่างนี้ให้ด้วยนะครับ - ขอบคุณครับ 

 


* * * เมื่อคลิกที่ภาพนิ้วโป้งทั้งหมดแล้ว กรุณาปล่อยให้หน้าเว็บเปิดไว้อย่างนั้นอย่างน้อย "2 นาที" นะครับ อ่านเหตุผลได้ "ที่ลิงก์นี้ครับ"





- หน้า 1 -



หน้าแรก  / ดัชนี-6  /  ดัชนี-ศัพท์เพาะกาย 

ดัชนี-ศัพท์เพาะกาย-เรียง-อักษร   

ดัชนี-อักษร-G-หลัก  /  อักษร-G-หลัก-01 

ดัชนี-ย่อย-ระดับ-หนึ่ง-01 

ดัชนี-ย่อย-ระดับ-สอง-01 

V-6bb-01-01-06-A-650722-2209 

V-6bb-01-01-13-P-670526-2030 




* * * คลิกให้กำลังใจผู้ทำเว็บ ด้วยการคลิกที่ "กรอบสีชมพู" ที่อยู่ด้านบนสุดให้ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ  


- - - - - - - - - - - - - - - - - - -  



ATP แบบจานด่วนจากกลูโคส ( Anaerobic Glycolytic System ) 

       วิธีนี้ถูกเรียกใช้เมื่อเราใช้แรงอย่างหนักเป็นเวลา 30 วินาที - 2 นาที การสร้าง ATP แบบที่สองนี้ได้จากการสลายน้ำตาลกลูโคส ( หน่วยย่อยที่สุดของคาร์โบไฮเดรต จำได้ไหม ) วิธีนี้ไม่ใช้ออกซิเจนเข้าช่วย จึงใช้เวลาในการสร้างพลังงานเร็วมาก แต่มีข้อเสียคือผลจากการสลายน้ำตาลกลูโคสจะได้กรดแลคติกมาครับ เจ้ากรดนี้แหละเป็นตัวการglycolytic1.jpgทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยและล้าที่กล้ามเนื้อ ดังนั้นร่างกายของเราจะทนกับสภาพนี้ได้แค่ 2-3 นาทีก็ต้องหยุดจากความล้า ธรรมชาติทำอย่างนี้เพื่อป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อต้องรับภาระหนักจนเกินไป ( แต่สำหรับผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ ร่างกายจะสามารถทนกรดแลคติกได้มากขึ้น และสามารถที่จะยืดเวลาออกไปได้ )

       ตัวอย่างของกิจกรรมอที่ทำให้ร่างกายสร้างพลังงานโดยวิธีนี้เช่น การวิ่งเต็มแรงขึ้นบันได โดยแบ่งได้ว่าที่ 10 วินาทีแรกร่างกายจะสร้าง ATP จากวิธีที่ 1 คือเอาที่มีเก็บอยู่มาใช้เลย หลังจากนั้นวิธี Glycolytic นี้ก็จะเข้ามามีบทบาท และจะสร้างพลังงานต่อไปอีกประมาณ 2 นาที ซึ่งก็พอดีกับเมื่อเรารู้สึกเมื่อยขาจากกรดแลคติกจนต้องหยุดนั่นแหละ 




ข้างล่างนี้ เอาข้อมูลมาจาก :  http://doodeedai.com/content/15/3-ways-to-produce-energy/p/2   




 
* * * ถ้ายังไม่ได้คลิก อย่าลืมช่วยคลิกไปที่ภาพนิ้วโป้งข้างล่างนี้ให้ด้วยนะครับ - ขอบคุณครับ 

  





- จบ -